ความรู้เรื่อง “เพชร” ตอนที่ 8: ใบเซอร์ (Certificate) / ใบรับรองผลอัญมณี

อะไรคือ “ใบเซอร์ฯ” หรือ “ใบรับรองผลเพชร”? ในใบเซอร์เพชร จะมีรายละเอียดอะไรบ้าง? เราจะไปออกใบเซอร์เพชรได้ที่ไหน? เพชรมีใบเซอร์จะมีราคาดีกว่าเพชรไม่มีใบเซอร์จริงหรือ? แล้วพลอยหรืออัญมณีอื่นๆ จะมีใบเซอร์ฯ ด้วยไหม? หากคุณมีสารพัดคำถามเกี่ยวกับ “ใบเซอร์ฯ” มาฟังคำตอบกันได้เลย!!! พบกับอ.ดร. สมฤดี สาธิตคุณ รองหัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การสอนภาษาไทยให้ชาวต่างชาติ ตอนที่ 8: ความสำเร็จของนักเรียน

สำหรับครูแล้ว การได้เห็นนักเรียนที่ตนสอนประสบความสำเร็จ ก็ถือว่าครูเองก็ประสบความสำเร็จเช่นกัน แต่ “ความสำเร็จ” มีได้หลายรูปแบบ หากเป็นครูผู้สอนภาษาไทยให้นักเรียนชาวต่างชาติแล้ว อะไรจะถือว่าเป็น “ความสำเร็จ” ของนักเรียนล่ะ? จะต้องได้โล่รางวัลผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่นกันเลยหรือไม่!? ฟังประสบการณ์และความในใจจาก “ครูหนุ่ย”คุณครูผู้สอนภาษาไทยให้นักเรียนชาวต่างชาติ วิทยากรจาก ศุมา สถาบันภาษาและวัฒนธรรมกันเลยดีกว่า!

ความรู้เรื่อง “เพชร” ตอนที่ 7: เกรดของเพชร หรือ 4C คืออะไร

จะรู้ได้อย่างไรว่าเพชรมีคุณภาพดีหรือไม่ ต้องดูอย่างไร? อะไรคือ 4C? เกรดของเพชรแบ่งได้อย่างไร? เพชรมีราคากลางหรือราคามาตรฐานหรือไม่? หากคุณมีสารพัดคำถามเกี่ยวกับ “เพชร” มาฟังคำตอบกันได้เลย!!! พบกับอ.ดร. สมฤดี สาธิตคุณ รองหัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การสอนภาษาไทยให้ชาวต่างชาติ ตอนที่ 7: สื่อที่ใช้สอนภาษามีอะไรบ้าง (ต่อ)

มาดูกันต่อเลยว่า สื่อที่ใช้ในการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติมีอะไรบ้างนะ เหมือนที่เราคนไทยเรียนกันบ้างไหม แล้วฝรั่งเขาจะอ่านหนังสือพิมพ์ ดูข่าว ดูละครโทรทัศน์แบบเราได้รึเปล่า พบกับ “ครูหนุ่ย”คุณครูผู้สอนภาษาไทยให้ชาวต่างชาติ วิทยากรคนเก่งของเรา จาก ศุมา สถาบันภาษาและวัฒนธรรมกันต่อดีกว่า

ความรู้เรื่อง “เพชร” ตอนที่ 6: แหล่งเพชรที่สำคัญของโลกและในไทย

แหล่ง “เพชร” ที่สำคัญของโลกอยู่ที่ใดบ้าง ประเทศไทยมี “แหล่งเพชร” หรือไม่ มีการทำเหมืองเพชรในไทยหรือเปล่า “เพชร” ของไทยสวยงามเหมือนของนอกหรือไม่ ฟังคำตอบกันได้จาก อ.ดร. สมฤดี สาธิตคุณ รองหัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การสอนภาษาไทยให้ชาวต่างชาติ ตอนที่ 7: สื่อที่ใช้สอนภาษามีอะไรบ้าง

เวลาชาวต่างชาติเรียนภาษาไทย สื่อที่ใช้ในการสอนภาษาไทยมีอะไรบ้าง เหมือนที่เราคนไทยเรียนกันบ้างไหม แล้วฝรั่งเขาจะอ่านหนังสือพิมพ์ ดูข่าว ดูละครโทรทัศน์แบบเราได้มั้ยนะ มาฟัง“ครูหนุ่ย”คุณครูผู้สอนภาษาไทยให้ชาวต่างชาติ วิทยากรคนเก่งของเรา จาก ศุมา สถาบันภาษาและวัฒนธรรมกันดีกว่า

ความรู้เรื่อง “เพชร” ตอนที่ 5: เพชรทำอะไรได้บ้าง?

“เพชร” นอกจากนำมาเจียระไนเป็นอัญมณีและเครื่องประดับงามๆ ให้กับสาวๆ แล้ว ยังมีคุณค่าและคุณประโยชน์อื่นๆ ที่เรายังนึกไม่ถึงอีกหรือไม่ แล้วเหตุใดเราจึงรู้สึกว่า “เพชร” เป็นของมีค่า? ฟังคำตอบกันได้จาก อ.ดร. สมฤดี สาธิตคุณ รองหัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การสอนภาษาไทยให้ชาวต่างชาติ ตอนที่ 6: ปัญหาเรื่องการอ่านและการเขียนในชีวิตประจำวัน (ต่อ)

มาฟังกันต่อเลยว่า เมื่อชาวต่างชาติเรียนอ่านเขียนภาษาไทยในเวลาที่จำกัด เขามีปัญหาอะไรกันอีกบ้าง แล้วเขาสับสนเรื่องการสะกด “คะ” “ค่ะ” เหมือนคนไทยไหมนะ!? โดยวิทยากรคนเก่งของเรา “ครูหนุ่ย” จาก ศุมา สถาบันภาษาและวัฒนธรรม คนเดิมจ้า

ราชาศัพท์ในการบอกอายุ

ที่จริง "พระชนมพรรษา" ไม่ได้แปลตรงตัวว่า "อายุ" แต่แปลว่า "ปีแห่งพระชนม์" หรือ "จำนวนปีแห่งพระชนม์" เพราะ "พรรษา" แปลว่า ปี "พรรษา" นี้ก็คือคำเดียวกับ "วรรษ" เช่นในคำว่า ทศวรรษ (10 ปี) ศตวรรษ (100 ปี) แล้วยังแปลว่า "ฝน" หรือ "ฤดูฝน" ด้วย แบบที่เราเรียก "เข้าพรรษา - ออกพรรษา" ซึ่งหมายถึงช่วงระยะเวลา 3 เดือนในฤดูฝน ด้วยความที่ใน 1 ปีเรามีฤดูฝน 1 ครั้ง และฤดูฝนก็เป็นฤดูสำคัญเพราะเป็นช่วงเวลาที่เราได้ทำการเกษตร เราจึงใช้คำว่า "ฝน" ในความหมายว่า "ปี" เช่น "18 ฝน" หมายถึงฤดูฝน 18 ครั้ง ซึ่งก็เท่ากับ "18 ปี" นั่นเอง
กำเนิดชื่อสายพันธุ์สุนัข 12 ชนิด

กำเนิดชื่อสายพันธุ์สุนัข 12 ชนิด

สุนัขเป็นสัตว์นานาชาติอย่างแท้จริง ยืนยันได้จากชื่อสายพันธุ์ต่างๆ ซึ่งตั้งตามชื่อสถานที่ที่เป็นจุดกำเนิดเดิมหรือบางครั้งจากผู้ที่พัฒนาสายพันธุ์ ชื่อสายพันธุ์สุนัขเสนอมุมมองที่น่าสนใจว่าเราเกี่ยวข้องกับเพื่อนที่ดีที่สุดของมนุษย์อย่างไร เราลองมาดูชื่อสายพันธุ์สุนัข 12 ชื่อนี้และเรื่องราวที่มาของพวกเขากัน