โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 5: กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน (ต่อ)

โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 5: กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน (ต่อ)

กระดูกหักเนื่องจากโรคกระดูกพรุนแตกต่างจากกระดูกหักธรรมดาอย่างไร สามารถแก้ไขให้เหมือนเดิมได้หรือไม่ พบกับ รศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

โรคข้อเข่าเสื่อม ตอนที่ 2

รศ.นพ.ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ จะมาบอกเล่าถึงวิธีการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมโดยละเอียด
ปวดหลัง ตอนที่ 4: โรคกระดูกสันหลังเสื่อมทับเส้นประสาท

ปวดหลัง ตอนที่ 4: โรคกระดูกสันหลังเสื่อมทับเส้นประสาท

โรคกระดูกสันหลังเสื่อมทับเส้นประสาทคืออะไร มีอาการอย่างไร ใครเป็นผู้มีความเสี่ยง การรักษาต้องทำอย่างไร หากไม่ผ่าตัดจะรักษาหายได้หรือไม่
คนไทยกับการเจ็บข้อสะโพก

คนไทยกับการเจ็บข้อสะโพก

ฟังรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคกระดูกและข้อ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บอกเล่าถึงอาการเจ็บข้อสะโพกของคนไทยว่ามีสาเหตุจากอะไรบ้าง และจะป้องกันอย่างไรไม่ให้ข้อสะโพกเสื่อม
เส้นกับการแพทย์สมัยใหม่

เส้นกับการแพทย์สมัยใหม่

ฟังคุณหมอบอกเล่าถึง "เส้น" "กล้ามเนื้อ" และ อาการ "ปวดเรื้อรัง" โดยรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 9: ค่ารักษาพยาบาล

โรคกระดูกพรุน เป็นหนึ่งในภัยเงียบที่เกิดขึ้นได้ในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้หญิง หากเป็นแล้ว ก็ควรต้องรักษา มิฉะนั้นอาจเกิดความเสี่ยงกระดูกหักได้ง่าย แล้วค่ารักษาพยาบาลล่ะ จะมากน้อยเพียงไร สิทธิการรักษาพยาบาลครอบคลุมหรือไม่ ฟังคำตอบได้จากรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 4: กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน

โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 4: กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน

กระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนมักเกิดกับกระดูกส่วนใดบ้าง ใครเป็นผู้ที่มีความเสี่ยง? ทำไมกระดูกสะโพกหักจึงนำไปสู่การเสียชีวิตได้!?

โรคข้อเข่าเสื่อม ตอนที่ 3: วิธีออกกำลังกายสำหรับผู้มีปัญหาข้อเข่า

ปวดเข่า ข้อเข่าเสื่อม ออกกำลังกายแล้วเจ็บเข่า ควรจะทำอย่างไร จะยังออกกำลังกายได้อีกไหม
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 6: น้ำหนักกับกระดูกพรุน

โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 6: น้ำหนักกับกระดูกพรุน

น้ำหนักของร่างกายคนเรามีผลต่อโรคกระดูกพรุนอย่างไร ใครเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงมากกว่ากัน ระหว่างคนผอมกับคนอ้วน หากสงสัยว่าเป็นโรคกระดูกพรุน ควรตรวจอย่างไร พบกับ รศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

โรคข้อเข่าเสื่อม ตอนที่ 4: “สเตียรอยด์” คืออะไร

จริงๆ แล้ว “สเตียรอยด์” คืออะไร มีคุณและโทษอย่างไร และถ้าปวดเข่า จะฉีดสเตียรอยด์ได้ไหม มีผลเสียอะไรต่อร่างกายหรือไม่