Home Health คุยกับหมอจิตเวช

คุยกับหมอจิตเวช

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 2: โรคจิต โรคประสาท โรคเครียด วิตกกังวล

โรคจิตและโรคประสาทต่างกันอย่างไร ทำไมเราถึงไม่ควรเอาคำว่า "ประสาท" มาว่าขานกันเล่นๆ ความเครียดและความวิตกกังวลส่งผลตอบสนองต่อร่างกายและจิตใจอย่างไร

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 1

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 1 เรื่อง จิตแพทย์กับนักจิตวิทยาต่างกันอย่างไร คนที่ไปพบจิตแพทย์ถือว่าเป็น "คนบ้า" หรือไม่ เมื่อไรที่ควรไปพบจิตแพทย์ ฟังคำตอบได้จาก ผศ.พญ.รัศมน กัลยาศิริ อาจารย์หมอจากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 8: จิตเภท (schizophrenia)

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 8: จิตเภท (schizophrenia)

Schizophrenia หรือภาษาไทยเรียกว่า “จิตเภท” เป็นโรคทางจิตเวชซึ่งพบได้บ่อยขนาดที่ว่าใน 100 คน พบผู้ป่วยจิตเภทได้ 1 คน โรคนี้คืออะไร มีอาการอย่างไรบ้าง รักษาได้หรือไม่ และหากคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคจิตเภท จะมีวิธีชักชวนให้ผู้ป่วยไปพบแพทย์ได้อย่างไร
คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 10: โรคการกินผิดปกติ (Eating Disorders)

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 10: โรคการกินผิดปกติ (Eating Disorders)

โรคการกินผิดปกติ หรือ Eating Disorders คืออะไร มักเกิดกับผู้ป่วยในวัยใด มีลักษณะหรืออาการอย่างไร พบกับ ผศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 13: “ถ้าฉันอยากตาย…”

“เบื่อ” “เครียด” “อยากตาย” “ไม่อยากอยู่แล้ว...” หากคุณรู้สึกแบบนี้ขึ้นมาจริงๆ จะทำอย่างไร? หรือหากมีคนใกล้ชิดคุณมาพูดแบบนี้ให้ฟัง คุณควรจะทำอย่างไร แต่ถ้าเขาเก็บเงียบ ไม่บอกออกมาล่ะ คุณจะรู้ได้อย่างไรว่าคนรอบตัวคุณนั้นมีความคิดอย่างนี้ ฟังคำแนะนำได้จากรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 5: วิธีรักษาโรควิตกกังวล

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 5: วิธีรักษาโรควิตกกังวล

โรควิตกกังวลมีวิธีรักษาอย่างไร จะต้องกินยาหรือไม่ สมาชิกในครอบครัวมีส่วนช่วยได้หรือไม่
คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 9: ประสาทหลอน (Hallucination)

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 9: ประสาทหลอน (Hallucination)

หูแว่ว...ได้ยินเสียง แต่ไม่มีต้นตอของเสียง เห็นภาพ...อะไรบางอย่าง ทั้งที่ไม่มีอะไรตรงหน้า ได้กลิ่น...แบบที่คนอื่นไม่ได้กลิ่น.. รับรส...แปลกๆ..ไม่เหมือนชาวบ้าน สัมผัส...เหมือนมีตัวอะไรไต่ตามร่างกาย...บรึยสสสส์ นี่คืออาการของการ "หลอน" หรือ "Hallucination"! ซึ่งมีสาเหตุได้หลายประการ...โรคทางจิตเวชก็เป็นสาเหตุหนึ่งในนั้น! พบกับ ผศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 12: โรค PTSD

ผู้ที่เคยผ่านเหตุการณ์ร้ายแรงจนถึงขั้นชีวิต มักได้รับผลกระทบทางจิตไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ในทางการแพทย์ เรียกอาการดังกล่าวว่า PTSD ซึ่งย่อมาจาก Post-traumatic Stress Disorder หรือ โรคเครียดภายหลังเผชิญเหตุการณ์สะเทือนขวัญ โรคนี้คืออะไร มีอาการอย่างไร และจะรักษาให้หายขาดได้หรือไม่ ลองมาฟังรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คุยกะหมอจิตเวช ตอนที่ 11: โรคย้ำคิดย้ำทำ

โรค OCD หรือย้ำคิดย้ำทำคืออะไร มีอาการอย่างไร และจะรักษาให้หายขาดได้หรือไม่ ลองมาฟังรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในรายการ “คุยกับหมอจิตเวช” ตอนที่ 11 เรื่อง “โรคย้ำคิดย้ำทำ (OCD)”
คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 6: โรคซึมเศร้า

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 6: โรคซึมเศร้า

โรคซึมเศร้าคืออะไร มีสาเหตุและอาการอย่างไร สามารถรักษาให้หายขาดได้หรือไม่ พบกับ ผศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ จาก ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย