ศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 4: วิธีรักษาโรคปากแหว่งเพดานโหว่

ศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 4: วิธีรักษาโรคปากแหว่งเพดานโหว่

การผ่าตัดเพื่อรักษาภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ควรทำเมื่อเด็กอายุเท่าไร

โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 1: นิยามของโรค / ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง

โรคกระดูกพรุนคืออะไร ทำไมถึงเป็นภัยเงียบ? ใครคือผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง? ฟังคำตอบได้จากซีรีส์ "คุยกับคุณหมอกระดูก" เรื่อง "โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 1"
คุยกับหมอเวชศาสตร์ครอบครัว ตอนที่ 1

เวชศาสตร์ครอบครัวคืออะไร

เวชศาสตร์ครอบครัวคืออะไร มีความสำคัญอย่างไร เนื่องจากคนไข้ที่มาหาหมอด้วยโรคหนึ่ง จริงๆ แล้วอาจไม่ได้เกิดจากสาเหตุเพียงเหตุเดียว แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวจึงไม่วินิจฉัยคนไข้เฉพาะเจาะจงเป็นอวัยวะไป แต่จะดูปัญหาทางสุขภาพของคนไข้ทั้งหมด
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก

การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก ตอนที่ 2

ฟังวิธีการผ่าตัดเพื่อเปลี่ยนข้อสะโพก วิธีการดูแลผู้ป่วยและการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยจากรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก

การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก ตอนที่ 1

ข้อสะโพกที่ดีเป็นอย่างไร หากข้อสะโพกเสื่อม การผ่าตัดเพื่อรักษาอาการข้อสะโพกเสื่อมทำอย่างไร ดูตัวอย่างโมเดลการผ่าตัดเพื่อเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมได้ที่นี่
คนไทยกับการเจ็บข้อสะโพก

คนไทยกับการเจ็บข้อสะโพก

ฟังรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคกระดูกและข้อ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บอกเล่าถึงอาการเจ็บข้อสะโพกของคนไทยว่ามีสาเหตุจากอะไรบ้าง และจะป้องกันอย่างไรไม่ให้ข้อสะโพกเสื่อม
เส้นกับการแพทย์สมัยใหม่

เส้นกับการแพทย์สมัยใหม่

ฟังคุณหมอบอกเล่าถึง "เส้น" "กล้ามเนื้อ" และ อาการ "ปวดเรื้อรัง" โดยรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 1

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 1 เรื่อง จิตแพทย์กับนักจิตวิทยาต่างกันอย่างไร คนที่ไปพบจิตแพทย์ถือว่าเป็น "คนบ้า" หรือไม่ เมื่อไรที่ควรไปพบจิตแพทย์ ฟังคำตอบได้จาก ผศ.พญ.รัศมน กัลยาศิริ อาจารย์หมอจากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โรคซึมเศร้า ตอนที่ 4: การรักษา

โรคซึมเศร้า ตอนที่ 4: การรักษา

วิธีการรักษาโรคซึมเศร้ามักเป็นการผสมผสานกันระหว่างการรักษาด้วยยา การบำบัดด้วยการพูดคุย และการรักษาโดยตัวผู้ป่วยเอง โดยวิธีที่แพทย์ใช้จะขึ้นอยู่กับลักษณะอาการที่ผู้ป่วยเป็น
ศัลยกรรมตกแต่งตอนที่ 3: โรคปากแหว่ง เพดานโหว่

ศัลยกรรมตกแต่งตอนที่ 3: โรคปากแหว่ง เพดานโหว่

หนึ่งในงานหลักของศัลยแพทย์ตกแต่ง คือ การผ่าตัดแก้ไขภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ ภาวะความพิการแต่กำเนิดนี้คืออะไร เราจะป้องกันการเกิดโรคนี้ได้หรือไม่