คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 7: โรคอารมณ์สองขั้ว

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 7: โรคอารมณ์สองขั้ว

เคยได้ยินโรคอารมณ์สองขั้ว หรือไบโพลาร์ไหม รู้จักรึเปล่าว่าคือโรคอะไร มีสาเหตุและอาการอย่างไร และจะรักษาให้หายขาดได้หรือไม่ พบกับ ผศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แนวทางใหม่ด้านโภชนาการ: งดน้ำตาล รับประทานผักให้มากขึ้น

แนวทางใหม่ด้านโภชนาการ: งดน้ำตาล รับประทานผักให้มากขึ้น

ปัจจุบัน ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ใหญ่ชาวอเมริกันทั้งหมด คือ 117 ล้านคน เป็นโรคเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้หนึ่งโรคขึ้นไป ซึ่งหลายโรคเกี่ยวข้องกับรูปแบบการกินอาหารที่มีคุณภาพต่ำและการไม่ออกกำลังกาย รัฐบาลสหรัฐอเมริกาจึงกำหนดแนวทางใหม่ด้านโภชนาการเมื่อเดือนมกราคม ปี 2016 มีอะไรกันบ้าง มาดูกันเลย!
คุยกับหมอศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 5: เมื่อลูกเป็นโรคปากแหว่ง เพดานโหว่

คุยกับหมอศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 5: เมื่อลูกเป็นโรคปากแหว่ง เพดานโหว่

ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่สามารถตรวจพบได้โดยการอัลตราซาวนด์ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ แต่ถ้าไม่ทราบมาก่อน จะทำอย่างไร!?
ศัลยกรรมตกแต่งตอนที่ 3: โรคปากแหว่ง เพดานโหว่

ศัลยกรรมตกแต่งตอนที่ 3: โรคปากแหว่ง เพดานโหว่

หนึ่งในงานหลักของศัลยแพทย์ตกแต่ง คือ การผ่าตัดแก้ไขภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ ภาวะความพิการแต่กำเนิดนี้คืออะไร เราจะป้องกันการเกิดโรคนี้ได้หรือไม่
ควรกิน/ดื่มอะไรไม่ให้ร่างกายขาดน้ำ (ที่ไม่ใช่ดื่มน้ำ)

ดื่มอะไรดีที่ช่วยไม่ให้ร่างกายขาดน้ำ

เรามักพักดื่มน้ำเมื่อต้องเสียเหงื่อจากการออกกำลังกาย แต่เมื่อสภาพอากาศร้อนขึ้น เรายิ่งต้องใส่ใจกับของเหลวที่จะรับเข้าสู่ร่างกายตลอดทั้งวัน เพราะน้ำคือสารอาหารที่จำเป็นที่สุดที่ร่างกายต้องการ ถึงจะรู้กันดีว่าการดื่มน้ำแก้วโตเป็นวิธีดีที่สุดที่ทำให้ร่างกายไม่ขาดน้ำก็ตาม แต่ยังมีทางเลือกอื่น ๆ อีกมากหากคุณไม่ชอบรสชาติน้ำเปล่า
ปวดหลัง ตอนที่ 2: อาการปวดหลังในแต่ละวัย

ปวดหลัง ตอนที่ 2: อาการปวดหลังในแต่ละวัย

เราทุกคนคงเคยผ่านอาการปวดหลังกันมาบ้างไม่มากก็น้อย แต่ว่าสาเหตุของการปวดหลังนั้นจะเหมือนกันหรือไม่ แล้วอายุสัมพันธ์กับอาการปวดหลังอย่างไร พบกับรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

โรคซึมเศร้า ตอนที่ 2 “สาเหตุของโรค”

โรคซึมเศร้าไม่ได้เกิดจากสาเหตุใดเพียงสาเหตุเดียว คุณอาจเป็นโรคนี้ได้จากหลายสาเหตุ และตัวกระตุ้นที่ทำให้เกิดโรคยังแตกต่างกันไปด้วย
หยิบหนังสือขึ้นมาสิ แล้วคุณจะอายุยืน

หยิบหนังสือขึ้นมาสิ แล้วคุณจะอายุยืน

คุณกำลังหาวิธีทำให้อายุยืนโดยไม่ต้องงดรับประทานของโปรดใช่ไหม เพียงแค่นั่งลงอ่านหนังสือดีๆ สักเล่ม คุณก็ได้แตะน้ำพุแห่งเยาว์วัยเข้าแล้ว นักวิจัยจากคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเยล ทำวิจัยเพราะต้องการเข้าใจว่าการอ่านหนังสือส่งผลดีต่อสุขภาพบ้างหรือไม่ เรารู้กันอยู่แล้วว่าการอ่านส่งผลดีต่อจิตใจ ช่วยกระตุ้นการส่งสัญญาณของเซลล์ประสาทในสมอง ยังไม่รวมถึงช่วยส่งเสริมสุขภาพจิตให้แข็งแรงขึ้น แต่นักวิจัยต้องการทราบว่า การอ่านช่วยให้สุขภาพกายดีขึ้นด้วยหรือไม่

ศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 2 เรื่อง “ศัลยกรรมพลาสติก VS ศัลยกรรมความงาม”

คุณรู้จักศัลยกรรมพลาสติกดีแค่ไหน แน่ใจได้อย่างไรว่าศัลยแพทย์ที่คุณเลือกเพื่อเสริมความงามให้นั้น เป็นแพทย์ “เฉพาะทาง” อย่างแท้จริง

ปวดหลัง ตอนที่ 5: โรคหมอนรองกระดูกแตกทับเส้นประสาท

เชื่อว่าคุณคงเคยได้ยินชื่อ "โรคหมอนรองกระดูกแตกทับเส้นประสาท" กันใช่ไหม แต่รู้ไหมว่า ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงคือวัยหนุ่มสาว…ไม่ใช่กลุ่มผู้สูงอายุแต่อย่างใด! ทำไมโรคนี้จึงเกิดกับคนวัยนี้ และหากเป็นแล้วจะรักษาได้อย่างไร? ฟังคำตอบจากรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์