ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 9: อาการของโรคปรสิต

ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่มักมีอาการท้องเสียเรื้อรัง... ...ท้องเสียเป็นมูกเลือด... ...ท้องเสียสลับท้องผูก... หรือขับถ่ายแล้วมีไขมันออกมาด้วย!? และถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่ชอบกินอาหารสุกๆ ดิบๆ ละก็... ระวังให้ดี! สิ่งเหล่านี้อาจบ่งบอกว่าคุณกำลังเป็นโรคจากปรสิต!!! ถ้าอยากรู้ว่าตนเองเข้าข่ายหรือไม่ และควรรับการตรวจวินิจฉัยอย่างไร โดยวิทยากร ผศ. ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 12: การลงเล่นน้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติมีอันตรายจากปรสิตหรือไม่

อากาศร้อนๆ แบบนี้ อยากโดดลงน้ำคลายร้อนกันใช่มั้ย แต่เอ๊ะ...ถ้าลงเล่นน้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติ จะเจอพยาธิไชเข้าตามตัวเรามั้ยนะ!? อยากรู้ก็ดูกันเลย! โดยวิทยากร ผศ. ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 2: โปรโตซัวคืออะไร

เราคงเคยได้ยินคำว่า “โปรโตซัว” กันมาบ้าง แต่รู้หรือไม่ว่าจริงๆ แล้วโปรโตซัวคืออะไร? สามารถก่อโรคหรือทำอันตรายให้เราได้มากน้อยแค่ไหน!? มาทำความรู้จักกับเจ้าสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กชนิดนี้กัน โดยวิทยากร ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การบำบัดโรคมะเร็งด้วยเม็ดเลือดขาวชนิด T-cell

การบำบัดโรคมะเร็งด้วยเม็ดเลือดขาวชนิด T-cell

นักวิจัยโรคมะเร็งอ้างว่า การบำบัดด้วยเม็ดเลือดขาวชนิด T-cell ให้ผล “ยอดเยี่ยม” ในหมู่ผู้ป่วยจำนวนนับสิบๆ รายที่อาจมีชีวิตอยู่ได้อีกไม่กี่เดือน การทดลองทางคลินิกขั้นต้นที่ใช้เม็ดเลือดขาวชนิดที-เซลล์ (T-cell) ในระบบภูมิคุ้มกันเพื่อจัดการมะเร็งถือว่าได้ผล “ยอดเยี่ยม”

ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 3: ปรสิตเข้าสู่ร่างกายทางใดได้บ้าง

เราคงพอรู้จัก “พยาธิ” หรือ “ปรสิต” กันมาบ้างแล้วใช่มั้ย แต่รู้หรือไม่ว่า เจ้าสิ่งมีชีวิตเล็กๆ นี้แอบเข้ามาอาศัยอยู่ในร่างกายของคนเราได้ด้วยวิธีไหน ใช่อาหารที่เรากินหรือไม่!? แล้วในอากาศที่เราหายใจล่ะ จะมีพยาธิมั้ย!? ติดตามชมจากวิทยากร ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทารกมองได้ชัดไม่เกินระยะ 12 นิ้ว

พ่อแม่ส่วนใหญ่มักจะชะโงกหน้าเหนือเปลส่งยิ้มให้กับทารกน้อย แต่พวกเขาจะแปลกใจเมื่อได้รู้ว่าทารกมองเห็นหน้าพ่อแม่ไม่ชัด นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยออสโลทำการศึกษาครั้งใหม่ โดยใช้เทคโนโลยี คณิตศาสตร์ และผลการศึกษาก่อนหน้าเรื่องการรับรู้ภาพของทารก เพื่อแสดงให้เห็นเป็นครั้งแรกว่าทารกแรกเกิดสามารถแยกแยะอะไรได้บ้าง

ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 5: ปรสิตในอาหาร!?

พี่น้องฮะ! รู้หรือไม่ว่าอาหารพื้นบ้านแบบที่ชาวเราชอบกินกันมีความเสี่ยงหรือไม่!? เสี่ยงอะไรน่ะเหรอฮะ? ก็พยาธิ...ยังไงล่ะ!!! ทั้งพยาธิตืดวัว พยาธิตืดหมู พยาธิใบไม้ในตับ พยาธิใบไม้ในปอด เรียงแถวกันเข้ามาเลยยยย.. อะจึ๋ย! อาหารอะไรกันล่ะที่จะมีพยาธิดึ๋ยๆ ดึ้บๆ อยู่ในนั้น? ปลาร้า ปลาส้ม ลาบ ก้อย แหนม ปูน้ำตก กุ้งฝอย แซ่บอีหลีแบบนี้ เข้าข่ายรึเปล่าเนี่ย!? ก็บีบมะนาวแล้ว เนื้อขาวหมดแล้ว มันสุกแล้วไม่ใช่เหรอ? มาดูกันเลยดีกว่าว่าที่เรียกว่า “สุกเพราะบีบมะนาว” นั้น มัน “สุก” แล้วจริงหรือไม่ โดยวิทยากร ผศ. ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 6: “พยาธิ” ในปลา!?

เวลาเราไปกิน “ปลาดิบ” หรือ “ซาชิมิ” อาหารญี่ปุ่นสุดแสนอร่อยที่เป็นหนึ่งในเมนูยอดนิยมของคนไทยนี่ เคยแอบกลัวอยู่ลึกๆ หรือไม่ว่ามันจะมีพยาธิรึเปล่า ถ้าเกิดเราโป๊ะเชะเจอเจ้าตัวขาวๆ เป็นเส้นๆ ยาวๆ ในเนื้อปลาที่กำลังกินอยู่เข้าจริงๆ ล่ะ!! มันคือตัวอะไรแน่ กินไปแล้ว จะเป็นยังไง จะทำให้เราเจ็บป่วยมากน้อยแค่ไหน!? พบกับคำตอบของคำถามคาใจผู้บริโภคปลาดิบกันได้เลย โดยวิทยากร ผศ. ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 4: จะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคจากปรสิต

เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคจากปรสิต หรือ "ติดพยาธิ" เข้าแล้ว จะมีอาการอย่างไรที่จะทำให้รู้ได้ว่าเป็นโรคพยาธิ ปวดท้อง ท้องเสีย เกี่ยวไหม ซีด หรือ โลหิตจางล่ะ ใช่รึเปล่า ถ้าหากว่าติดพยาธิจริงๆ แล้วละก็ เราลองมาดูการเดินทางของเจ้าพยาธิในร่างกายเรากันดีกว่าว่ามันจะเดินทางไปไหน และจะทำให้เราเจ็บป่วยอะไรได้บ้าง พบกับวิทยากร ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 7: อาหารปิ้งย่าง

ตอนที่แล้ว เราได้ฟังกันไปแล้วว่าปลาดิบญี่ปุ่นที่เรานิยมบริโภคกันนั้น จริงๆ แล้วมีพยาธิหรือไม่… คราวนี้ สำหรับผู้นิยมชมชอบอาหารปิ้งย่าง โดยเฉพาะเนื้อหมูเนื้อวัวที่ปิ้งแบบเนื้อแดงๆ ลองมาฟังกันเลยว่า อาหารโปรดของคุณนั้นปลอดภัยจากพยาธิหรือไม่!? โดยวิทยากร ผศ. ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย