หรือนี่จะเป็นทางแก้เจ็ตแล็ก?
ร้อยกว่าปีที่แล้ว รัดยาร์ด คิปลิงเขียนว่า กำเนิดของเครื่องบินจะบ่งบอกถึงยุคที่ “ระยะทางที่อยู่ห่างกันแสนไกลที่สุดจะเชื่อมเข้าหากันได้ด้วยการเดินทางเพียงหนึ่งสัปดาห์ หรือหนึ่งร้อยหกสิบแปดชั่วโมงเท่านั้น”
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 6: “พยาธิ” ในปลา!?
เวลาเราไปกิน “ปลาดิบ” หรือ “ซาชิมิ” อาหารญี่ปุ่นสุดแสนอร่อยที่เป็นหนึ่งในเมนูยอดนิยมของคนไทยนี่
เคยแอบกลัวอยู่ลึกๆ หรือไม่ว่ามันจะมีพยาธิรึเปล่า
ถ้าเกิดเราโป๊ะเชะเจอเจ้าตัวขาวๆ เป็นเส้นๆ ยาวๆ ในเนื้อปลาที่กำลังกินอยู่เข้าจริงๆ ล่ะ!!
มันคือตัวอะไรแน่ กินไปแล้ว จะเป็นยังไง จะทำให้เราเจ็บป่วยมากน้อยแค่ไหน!?
พบกับคำตอบของคำถามคาใจผู้บริโภคปลาดิบกันได้เลย
โดยวิทยากร ผศ. ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 1: ปรสิตคืออะไร
บนโลกใบใหญ่นี้ มีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด หลากหลายสายพันธุ์ นับกันไม่ถ้วน
คุณอาจรู้จักสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่อย่างช้าง เสือ ปลาวาฬ...
แต่กับสิ่งมีชีวิตเล็กๆ อีกหลายชนิดที่เรามองเห็นแต่อาจไม่รู้จัก หรือบางชนิดอาจมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นนั้น
เรารู้จักเพื่อนร่วมโลกเหล่านี้มากน้อยเพียงไร
มาทำความรู้จักกับ “ปรสิต” สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่คนทั่วไปอาจจะเรียกว่า “พยาธิ” กัน
พยาธิคืออะไร? ทำไมต้องอยู่อาศัยในร่างกายของเราด้วยนะ!?
ในรายการ “ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 1: ปรสิตคืออะไร”
โดยวิทยากร ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 12: การลงเล่นน้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติมีอันตรายจากปรสิตหรือไม่
อากาศร้อนๆ แบบนี้ อยากโดดลงน้ำคลายร้อนกันใช่มั้ย
แต่เอ๊ะ...ถ้าลงเล่นน้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติ
จะเจอพยาธิไชเข้าตามตัวเรามั้ยนะ!?
อยากรู้ก็ดูกันเลย!
โดยวิทยากร ผศ. ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ตอนที่ 1: ก๊าซเรือนกระจกคืออะไร
สภาพอากาศปัจจุบันที่แสนจะปรวนแปรแบบนี้ เดี๋ยวๆ ก็ร้อนจัด เดี๋ยวๆ ก็ฝนตกหนักจนน้ำท่วม มันคืออะไรกัน
ใช่เป็นผลจากสิ่งที่เรียกว่า "การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ" หรือ "Climate Change" หรือไม่!?
ว่าแต่...เรารู้จัก Climate Change กันดีแค่ไหน
จริงๆ แล้วคืออะไรกันแน่ และเกิดจากสาเหตุอะไร ใช่น้ำมือมนุษย์เรากันเองหรือไม่
มาทำความเข้าใจกันได้เลย!
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 10: โรคจากพยาธิตัวจี๊ด
พยาธิตัวจี๊ดดดดด.... ชื่อนี้แสนคุ้นหู
เพราะพบเจอได้บ่อยๆ ในเมืองไทย
พยาธิตัวจิ๋ว แต่ไม่จิ๊บจ๊อยตัวนี้ ไชดื้บๆ ไปไหนได้บ้าง!?
มันก่อโรคให้เราได้อย่างไร ทำไมเราถึงรับเชื้อมาได้?
อยากรู้ว่าจะรักษาได้อย่างไร?
ฟังคำตอบได้จากวิทยากร ผศ. ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 3: ปรสิตเข้าสู่ร่างกายทางใดได้บ้าง
เราคงพอรู้จัก “พยาธิ” หรือ “ปรสิต” กันมาบ้างแล้วใช่มั้ย
แต่รู้หรือไม่ว่า เจ้าสิ่งมีชีวิตเล็กๆ นี้แอบเข้ามาอาศัยอยู่ในร่างกายของคนเราได้ด้วยวิธีไหน
ใช่อาหารที่เรากินหรือไม่!?
แล้วในอากาศที่เราหายใจล่ะ จะมีพยาธิมั้ย!?
ติดตามชมจากวิทยากร ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฝูงพิราบลาดตระเวนปฏิบัติการ! สะพายเป้ตรวจมลพิษทางอากาศ
ขอแนะนำ ฝูงพิราบลาดตระเวนแห่งลอนดอน หน่วยบินพิเศษนี้มีหน้าที่วัดค่าไนโตรเจนไดออกไซด์ในเมืองที่มีค่ามลพิษทางอากาศสูงที่สุดระดับต้นๆ ของโลกรายงานของราชวิทยาลัยแห่งลอนดอนปี 2015
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 4: จะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคจากปรสิต
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคจากปรสิต หรือ "ติดพยาธิ" เข้าแล้ว
จะมีอาการอย่างไรที่จะทำให้รู้ได้ว่าเป็นโรคพยาธิ
ปวดท้อง ท้องเสีย เกี่ยวไหม
ซีด หรือ โลหิตจางล่ะ ใช่รึเปล่า
ถ้าหากว่าติดพยาธิจริงๆ แล้วละก็ เราลองมาดูการเดินทางของเจ้าพยาธิในร่างกายเรากันดีกว่าว่ามันจะเดินทางไปไหน และจะทำให้เราเจ็บป่วยอะไรได้บ้าง
พบกับวิทยากร ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 7: อาหารปิ้งย่าง
ตอนที่แล้ว เราได้ฟังกันไปแล้วว่าปลาดิบญี่ปุ่นที่เรานิยมบริโภคกันนั้น จริงๆ แล้วมีพยาธิหรือไม่…
คราวนี้ สำหรับผู้นิยมชมชอบอาหารปิ้งย่าง โดยเฉพาะเนื้อหมูเนื้อวัวที่ปิ้งแบบเนื้อแดงๆ
ลองมาฟังกันเลยว่า อาหารโปรดของคุณนั้นปลอดภัยจากพยาธิหรือไม่!?
โดยวิทยากร ผศ. ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย