เก็บสาระสำคัญ อนุสนธิอำนาจหลัง 14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519 ตอนที่ 4: อาทิตย์เจิดจ้า ชวลิตเก็บตะวัน

ด้วยศักยภาพที่เหนือกว่าของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และสามัคคี จปร. รุ่น 1-9 เว้นรุ่น 7 โดยเตรียม ทบ. 5 พลตรีอาทิตย์ กำลังเอกสามารถปราบปรามการปฏิวัติ ซึ่งดำเนินการโดยกลุ่มยังเติร์กได้

เก็บสาระสำคัญ อนุสนธิอำนาจหลัง 14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519 ตอนที่ 2

ร่องรอยอำนาจช่วงเวลานั้น หากจะพูดโดยไม่เกรงใจกันก็คงได้แก่ ควันหลงอำนาจจากสหรัฐอเมริกา สังคมโลกเปลี่ยนแปลงไปมากหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรมาจัดระเบียบโลก

งบประมาณ ไอติม รัฐบาล ตอนที่ 2: รัฐวิสาหกิจ เครื่องดื่มชั้นดีรสเลิศ

นอกเหนือจากงบประมาณปกติซึ่งได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้ว ยังมีเงินนอกงบประมาณที่กระทรวงการคลังเป็นผู้ดูแล และรับผิดชอบภายใต้นโยบายของรัฐบาล ซึ่งมีวงจรงบประมาณมากกว่างบประมาณปกติถึง 2 เท่าตัว โดยมีองค์กรของรัฐและหน่วยงานของรัฐทำธุรกิจที่รัฐเป็นเจ้าของเป็นหน่วยงานปฏิบัติ เรียกกันว่า รัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน โดยมีสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง เป็นผู้กำกับดูแลและบริหาร

เก็บสาระสำคัญ อนุสนธิอำนาจหลัง 14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519 ตอนที่ 6: พฤษภาทมิฬ และประชาธิปไตยล้มลุก

เมื่อรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุนดำเนินการร่างรัฐธรรมนูญเสร็จสิ้น ก็จัดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535...โดยพลเอกสุจินดา คราประยูร ได้ให้สัมภาษณ์ว่าตนและสมาชิก รสช. จะไม่รับตำแหน่งทางการเมืองใดๆ

มิติเศรษฐกิจใหม่ จตุรทิศตะวันตก-ตะวันออก

เมื่อระบบเศรษฐกิจเก่าล่มทั้งระบบ หลายประเทศพยายามกลับมาเน้นปรับปรุงระบบเศรษฐกิจภายในประเทศตนเองทั้งระบบการผลิตและการบริโภค ประเทศไทยก็เช่นเดียวกัน จากเดิมพึ่งพาตลาดส่งออกตะวันตก ก็หันเหสู่ตลาดใหม่ มีการพัฒนาสินค้าใหม่ๆ พร้อมกับปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อรองรับตลาดในอนาคต

เก็บสาระสำคัญ อนุสนธิอำนาจหลัง 14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519 ตอนที่ 5: พลเอกชาติชาย ทายาทราชครูรุ่นที่ 2

แม้ยังเติร์กจะจบ พลเอกอาทิตย์จะอัสดง ก็มิใช่ว่าพลเอกเปรมจะบริหารงานได้ราบรื่นและมีเอกภาพ ความไม่ลงรอยกันในพรรคกิจสังคมและพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งขัดแย้งกันในการเลือกหัวหน้าพรรค นำมาสู่การไม่ลงมติเห็นชอบในการแก้ไขพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากพรรคประชาธิปัตย์บางส่วน แม้รัฐมนตรีของพรรคประชาธิปัตย์จะแสดงความรับผิดชอบด้วยการลาออกจากรัฐมนตรี เพื่อให้ปรับคณะรัฐมนตรี แต่พลเอกเปรมกลับยุบสภา

หาบเร่ แผงลอย อัตลักษณ์ชุมชนเมือง

หากพิจารณาเปรียบเทียบอ้างอิงจากงานศึกษาหลายชิ้น ระบุว่าผู้ค้าหาบเร่แผงลอยมีทั้งชาวกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด แต่สัดส่วนของผู้ประกอบอาชีพชาวต่างจังหวัดจะสูงขึ้น ด้วยสาเหตุความยากจนในภาคเกษตรกรรมและปํญหาการกระจายรายได้อย่างไม่เป็นธรรมระหว่างกรุงเทพฯ และชนบท

เก็บสาระสำคัญ อนุสนธิอำนาจหลัง 14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519 ตอนที่ 9: รัฐธรรมนูญปี 40 เปิดอำนาจประชาชน...

หากติดตามมาโดยลำดับ คงจะทราบดีว่าระบบเศรษฐกิจและสังคมเราหละหลวมหลายด้าน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาทางการเมืองเป็นไปตามยุคสมัยของผู้มีอำนาจ กลุ่มทุนเก่าที่มีทุนดั้งเดิม ผนวกกับผู้มีอำนาจทางทหารในแต่ละช่วง เกิดการสนธิกันกับกลุ่มคนจีนที่เก่งการค้า กลายเป็นทุนที่มีอำนาจทางสังคมและบริบททางปกครอง เรามีรัฐธรรมนูญหลายฉบับ ความเป็นประชาธิปไตยจะมีมากหรือน้อยก็มักอ้างตามกรอบอำนาจในรัฐธรรมนูญจนความศักดิ์สิทธิ์ของความหมายในประชาธิปไตยลดลง และลืมนึกกับคิดไปว่าเป็นไปได้หรือที่รัฐธรรมนูญซึ่งเกิดจากอำนาจในแต่ละช่วงซึ่งคณะผู้มีอำนาจกำหนดขึ้นนั้นจะมีความเป็นประชาธิปไตย

ไม่มีใครรู้ทิศทางของประเทศในอนาคต

คงมีคนจำนวนไม่น้อยที่ห่วงอนาคตของประเทศ ซึ่งไม่รู้ว่าทิศทางข้างหน้าจะเป็นอย่างไร ข่าวสารหรือข้อมูลต่างๆ คงจะได้รับน้อยลง เพราะการปกครองในปัจจุบันเน้นความมั่นคงของคณะผู้ปกครองมากกว่าความมั่นคงของประเทศในระยะยาว สถานการณ์ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมคงไม่อาจคาดการณ์ได้

โครงการระเบียงเศรษฐกิจ EEC ตอน: รัฐไทย ทุ่มสุดตัว

การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจโดยดำเนินการโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก ปีพ.ศ. 2560-2564 ซึ่งใช้เงินลงทุนจากภาครัฐ 3 แสนล้านบาทและภาคเอกชนอีกกว่า 1.9 ล้านล้านบาท นับได้ว่าเป็นการลงทุนมากที่สุดเท่าที่เคยมีมาในประเทศไทย จากอดีตที่เคยลงทุนโดยภาครัฐและเอกชนภายใต้ความร่วมมือระหว่างประเทศในโครงการสนามบินสุวรรณภูมิ 1.5 แสนล้านบาท เมื่อปีพ.ศ. 2545-2549