เผย...6 สัญญาณโรคหัวใจที่ไม่ควรมองข้าม

เผย…6 สัญญาณโรคหัวใจที่ไม่ควรมองข้าม

คนส่วนใหญ่มักคิดว่า ปัญหาเรื่องเพศ นอนกรน และเลือดออกตามไรฟัน เป็นปัญหาสุขภาพระดับรองๆ จึงมักมองข้ามปัญหาเหล่านี้ไป อย่างไรก็ตาม ปัญหาที่ดูเหมือนไม่สำคัญเหล่านี้กลับเป็นอาการที่พบได้ของโรคหัวใจ..เพชฌฆาตเบอร์หนึ่งของโลก!

ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 7: อาหารปิ้งย่าง

ตอนที่แล้ว เราได้ฟังกันไปแล้วว่าปลาดิบญี่ปุ่นที่เรานิยมบริโภคกันนั้น จริงๆ แล้วมีพยาธิหรือไม่… คราวนี้ สำหรับผู้นิยมชมชอบอาหารปิ้งย่าง โดยเฉพาะเนื้อหมูเนื้อวัวที่ปิ้งแบบเนื้อแดงๆ ลองมาฟังกันเลยว่า อาหารโปรดของคุณนั้นปลอดภัยจากพยาธิหรือไม่!? โดยวิทยากร ผศ. ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ป๋อม นรินทร์ “The Voice” Behind Beautiful Songs ตอนที่ 10: คุณสมบัติของผู้แปลเพลง

ฟังคุณ "ป๋อม นรินทร์" ผู้ถ่ายทอดเพลงจากละครเวทีเรื่อง The Sound of Music แบ่งปันความรู้และประสบการณ์ในการแปลเพลงมาก็เยอะแล้ว ทีนี้ถ้าเราอยากจะลองแปลเพลงเองบ้างล่ะ นอกจากจะต้องมีความสามารถทางภาษาแล้ว จำเป็นไหมว่าต้องร้องเพลงเก่งด้วย? ลองมาฟังกัน!
การควบคุมน้ำหนักที่ถูกต้อง

การควบคุมน้ำหนักที่ถูกต้อง

การควบคุมน้ำหนักที่ถูกต้องควรทำอย่างไร กินยาหรืออาหารเสริมเพื่อควบคุมน้ำหนักได้ผลหรือไม่ อาหารประเภทใดที่ส่งผลต่อน้ำหนักมากที่สุด ฟังคำตอบได้จากคุณหมอเฉลิมพล กิจชระโยธิน แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว จากศูนย์การแพทย์ RSU Medical Center
ความดันโลหิต ตอนที่ 8: ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำ

ความดันโลหิต ตอนที่ 8: ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำ

ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำมีอะไรบ้าง มีอันตรายหรือไม่ และมีข้อควรระวังอย่างไร หากมีความดันโลหิตต่ำ สามารถออกกำลังกายได้หรือไม่ ติดตามได้จากซีรีส์ “คุยกับหมอหัวใจ” ตอนที่ 8 “ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำ” โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 7: วิธีดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ

หากผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยการขยายหลอดเลือดหรือให้ยาแล้ว จะมีวิธีการดูแลตัวเองอย่างไร จะออกกำลังกายได้หรือไม่ แล้วจะบริโภคอาหารได้เหมือนเดิมหรือไม่ อย่างไร ฟังคำตอบได้จาก ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 7: การรักษา

โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 7: การรักษา

เป้าหมายหลักของการรักษาโรคกระดูกพรุน ไม่ใช่การรักษาที่ตัวโรคเพียงอย่างเดียว แต่เป็น “การป้องกันกระดูกหัก” จากกระดูกพรุน! ถ้าเป็นอย่างนั้นแล้ว ผู้ป่วยควรปฏิบัติตัวอย่างไร ออกกำลังกายได้หรือไม่ และหากอยากตรวจวัดมวลกระดูก การตรวจเชื่อถือได้แค่ไหน

ความรู้เรื่อง “เพชร” ตอนที่ 8: ใบเซอร์ (Certificate) / ใบรับรองผลอัญมณี

อะไรคือ “ใบเซอร์ฯ” หรือ “ใบรับรองผลเพชร”? ในใบเซอร์เพชร จะมีรายละเอียดอะไรบ้าง? เราจะไปออกใบเซอร์เพชรได้ที่ไหน? เพชรมีใบเซอร์จะมีราคาดีกว่าเพชรไม่มีใบเซอร์จริงหรือ? แล้วพลอยหรืออัญมณีอื่นๆ จะมีใบเซอร์ฯ ด้วยไหม? หากคุณมีสารพัดคำถามเกี่ยวกับ “ใบเซอร์ฯ” มาฟังคำตอบกันได้เลย!!! พบกับอ.ดร. สมฤดี สาธิตคุณ รองหัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 3: สัญญาณ / กระบวนการเกิดโรค

โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 3: สัญญาณ / กระบวนการเกิดโรค

เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคกระดูกพรุน จะมีสัญญาณใดบ่งบอกหรือไม่ กระบวนการก่อโรคกระดูกพรุนเป็นอย่างไร ฮอร์โมนเอสโตรเจนเกี่ยวข้องอย่างไรกับโรคกระดูกพรุน

ป๋อม นรินทร์ ‘The Voice’ Behind Beautiful Songs ตอนที่ 14: “งานแปลเพลง” กับ “ความต้องการของตลาด”

ถึงจะชอบงานด้านการแปลมากขนาดไหน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง งานด้านแปลเพลง แต่ความต้องการของตลาดล่ะ มีมากน้อยแค่ไหน งานด้านนี้จะทำให้เรามีกินมีใช้ หรือ กินแกลบกันแน่!? ลองมาฟังกันดูกับคุณ "ป๋อม นรินทร์" ผู้ถ่ายทอดเพลงจากละครเวทีเรื่อง The Sound of Music สู่บทเพลงไทยอันไพเราะ จะมาตอบคำถามคาใจให้เรารับฟังกัน