Home Tags หนังไทย

Tag: หนังไทย

พรจากฟ้า

"พรจากฟ้า" เป็นหนังสั้น 3 เรื่องที่ร้อยเรียงเชื่อมโยงกันด้วยองค์ประกอบ 3 อย่าง หนึ่งคือเพลงพระราชนิพนธ์ สองคือตัวละคร สามคือช่วงเวลาส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เรื่องแรกเกิดในเดือนธันวาคม 2557 เรื่องที่สองเดือนธันวาคม 2558 เรื่องที่สามเดือนธันวาคม 2560

ขุนพันธ์

เมื่อสัก 70-80 ปีที่แล้ว เมืองไทยของเราก็มีปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เยอะแยะหยุมแหยะไม่ต่างจากสมัยนี้เท่าไหร่หรอก ที่ต่างนิดนึงคือสมัยนั้นมีชุมโจรเยอะมาก หัวหน้าโจรส่วนใหญ่มักจะเป็นชาวบ้านธรรมดามาก่อน ไม่ได้เป็นคนใจพาลสันดานหยาบ

สันติ-วีณา

เนื่องในโอกาสมหามงคลเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ 70 ปี หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ได้จัดงาน "เมื่อครั้งเสด็จฯ ทอดพระเนตรภาพยนตร์" นำภาพยนตร์ 7 เรื่องที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ไปทอดพระเนตรที่โรงภาพยนตร์ มาฉายที่โรงหนังสกาลา

I Miss U รักฉัน อย่าคิดถึงฉัน

นอกจากเพลง "รักเธอทั้งหมดของหัวใจ" ที่ใช้ประกอบหนังเรื่อง "I Miss U รักฉัน อย่าคิดถึงฉัน" แล้ว "เธอไม่ยอมปล่อย หรือฉันไม่ยอมไป" ก็เป็นอีกเพลงที่น่าจะเหมาะกับเนื้อหาและสารสำคัญของหนังมากด้วยเช่นกัน

คู่กรรม

ข้าพเจ้าคงเป็นหนึ่งในไม่กี่คน (เอ...หรือคนเดียวหว่า) ที่อ่านนิยาย “คู่กรรม” แล้วไม่ร้องไห้ ยิ่งช่วงท้ายๆ ออกจะรำคาญด้วยซ้ำ (ว่าจะคร่ำครวญอะไรนักหนา) ส่วนคู่กรรมเวอร์ชันดัดแปลงที่ได้ดูครั้งแรกคือ วรุฒ-จินตหรา

รัก 7 ปี | ดี 7 หน

ตอนแรกที่ได้ข่าวว่าจะมีหนัง “รัก 7 ปี | ดี 7 หน” (Seven Something) เพื่อฉลองครบรอบ 7 ปี บริษัท GTH ก็งงนิดหน่อยว่า “จะฉลอง 7 ปีไปทำหยังฟะ” (แล้วในอนาคตจะมีฉลอง 11 ปี 18 ปี หรือว่า 23 ปีครึ่งไหม หรือถ้าจะฉลองทุก 7 ปีก็เก๋ดีนะ)

อาบัติ

คำพูดสองประโยคข้างต้นของตัวละครสองคนในเรื่องเกิดขึ้นต่างกรรมต่างวาระกัน แต่ใจความในสองประโยคดังกล่าวกลับมีความเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกันอย่างชัดเจน จากตัวอย่างหนังเรื่อง “อาบัติ/อาปัติ”

Fathers

ภาพยนตร์เรื่ิอง Fathers น่าจะได้รับอิทธิพลไม่มากก็น้อยจากแคมเปญ Bring Carmen Home และการถกเถียงเรื่องพ.ร.บ.คู่ชีวิตที่เป็นประเด็นร้อนเมื่อปีก่อน หนังเรื่องนี้ถ่ายทอดการต่อสู้ของคู่รักเกย์ที่ต้องดิ้นรนมากมาย

นิทานธรรมหรือตำนานรัก

ภาพยนตร์เรื่อง สันติ-วีณา (Santi-Vina) ลงโรงฉายครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2497 ดูจากชื่อหนังและปีที่ฉายก็อดไม่ได้ที่จะสร้างความคาดหวังก่อนเข้าชม ชื่อลักษณะนี้ฟังดูมีความเป็น heteronormativity สูงมาก

ตุ๊กแกรักแป้งมาก

จริงๆ ก็เกือบไม่ไปดูแล้วล่ะเพราะชื่อหนังกับการโปรโมตไม่ค่อยโดนดิฉันเท่าไหร่ เช่น โปรโมตว่าเป็นหนังน่ารัก (ดิฉันชอบหนังสนุก ไม่ต้องน่ารักก็ได้) หรือโปรโมตว่าเป็นหนังรักในยุคที่ผู้คนยังไม่มีช่องทางติดต่อกันในโลกออนไลน์ (แล้วไง?) แถมโปสเตอร์ก็ยังไงไม่รู้ ตามภาพ แต่เห็นใครๆ ก็บอกว่าหนังดี ดิฉันเลยไปพิสูจน์ด้วยตัวเอง