7 สัญญาณเตือนภัยที่บอกว่าคุณนอนไม่พอ

7 สัญญาณเตือนภัยที่บอกว่าคุณนอนไม่พอ

ปัจจุบันทั้งการทำงานและสังคมที่ไม่หยุดนิ่ง ตลอดจนการสื่อสารแบบดิจิทัลที่มาแรงแซงโค้งล่อใจจนทำให้คุณต้องโกงเวลานอนของตัวเองลง แต่ทราบหรือไม่ว่า การนอนคือกลไกขับเคลื่อนที่สำคัญต่อทุกระบบสรีระในร่างกายมนุษย์ ดังนั้น เมื่อเวลานอนถูกลิดรอนลงไป ปัญหาสุขภาพต่างๆ อาจมาเยือน และทำให้คุณภาพชีวิตแย่ลงได้
โรคหลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 2: สาเหตุของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 2: สาเหตุของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

โรคหลอดเลือดหัวใจตีบเกิดจากสาเหตุใด มีปัจจัยเสี่ยงจากอะไรได้บ้าง ภาวะไขมันในเลือดและความดันโลหิตสูงเกี่ยวข้องมากน้อยแค่ไหน การสูบบุหรี่มีส่วนทำให้เกิดโรคได้หรือไม่ พบกับ ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
ปวดหลัง ตอนที่ 2: อาการปวดหลังในแต่ละวัย

ปวดหลัง ตอนที่ 2: อาการปวดหลังในแต่ละวัย

เราทุกคนคงเคยผ่านอาการปวดหลังกันมาบ้างไม่มากก็น้อย แต่ว่าสาเหตุของการปวดหลังนั้นจะเหมือนกันหรือไม่ แล้วอายุสัมพันธ์กับอาการปวดหลังอย่างไร พบกับรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ความดันโลหิต ตอนที่ 4: สถานการณ์ความดันโลหิตสูงในประเทศไทย

ความดันโลหิต ตอนที่ 4: สถานการณ์ความดันโลหิตสูงในประเทศไทย

สถานการณ์ความดันโลหิตสูงในประเทศไทยเป็นอย่างไร ความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุการตายอันดับที่เท่าไรของคนไทย การบริโภคเกลือสัมพันธ์อย่างไรกับโรคความดันโลหิตสูง
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก

การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก ตอนที่ 1

ข้อสะโพกที่ดีเป็นอย่างไร หากข้อสะโพกเสื่อม การผ่าตัดเพื่อรักษาอาการข้อสะโพกเสื่อมทำอย่างไร ดูตัวอย่างโมเดลการผ่าตัดเพื่อเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมได้ที่นี่

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 5: วิธีรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

ภายหลังจากวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแล้ว จะมีวิธีการรักษาอย่างไรบ้าง จะต้องผ่าตัดอย่างเดียวหรือไม่ หรือแค่กินยาก็เพียงพอแล้ว? มีวิธีรักษาอย่างอื่นอีกบ้างหรือไม่? พบกับวิทยากร ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

คุยกะหมอจิตเวช ตอนที่ 14: เมื่อเพื่อนส่งสัญญาณว่าอยากตาย

เราจะรู้หรือสังเกตได้อย่างไรว่าเพื่อนหรือคนรู้จักของคุณมีความคิดอยากฆ่าตัวตายหรือทำร้ายตนเอง มาทำความรู้จักสัญญาณบอกเหตุดังกล่าวกันดีกว่า  พร้อมกับรับฟังคำแนะนำจากคุณหมอด้วยว่า คุณควรทำตัวอย่างไรกับเพื่อนที่คิดอย่างนั้น... พบกับวิทยากร รศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ  จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 3: ความเครียดและความวิตกกังวลส่งผลต่อร่างกายและจิตใจอย่างไร

คุยกับหมอจิตเวช ตอนที่ 3: ความเครียดและความวิตกกังวลส่งผลต่อร่างกายและจิตใจอย่างไร

ความเครียดและความวิตกกังวลคืออะไร จะส่งผลตอบสนองต่อร่างกายและจิตใจแค่ไหน และก่อให้เกิดโรคอื่นได้อีกหรือไม่
แนวทางใหม่ด้านโภชนาการ: งดน้ำตาล รับประทานผักให้มากขึ้น

แนวทางใหม่ด้านโภชนาการ: งดน้ำตาล รับประทานผักให้มากขึ้น

ปัจจุบัน ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ใหญ่ชาวอเมริกันทั้งหมด คือ 117 ล้านคน เป็นโรคเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้หนึ่งโรคขึ้นไป ซึ่งหลายโรคเกี่ยวข้องกับรูปแบบการกินอาหารที่มีคุณภาพต่ำและการไม่ออกกำลังกาย รัฐบาลสหรัฐอเมริกาจึงกำหนดแนวทางใหม่ด้านโภชนาการเมื่อเดือนมกราคม ปี 2016 มีอะไรกันบ้าง มาดูกันเลย!
เส้นกับการแพทย์สมัยใหม่

เส้นกับการแพทย์สมัยใหม่

ฟังคุณหมอบอกเล่าถึง "เส้น" "กล้ามเนื้อ" และ อาการ "ปวดเรื้อรัง" โดยรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์