จะเกิดอะไรเมื่อใช้สำลีก้านแคะหู

คุณเป็นคนหนึ่งใช่มั้ยที่ชอบใช้สำลีก้านเพื่อแคะหู? รู้หรือไม่ว่าทำแบบนี้มันอันตรายกว่าที่คิดนะ!!! มาดูกันว่าการกำจัดขี้หูไม่ดียังไง และขี้หูจริงๆ แล้วมีประโยชน์อย่างไร
เผย...6 สัญญาณโรคหัวใจที่ไม่ควรมองข้าม

เผย…6 สัญญาณโรคหัวใจที่ไม่ควรมองข้าม

คนส่วนใหญ่มักคิดว่า ปัญหาเรื่องเพศ นอนกรน และเลือดออกตามไรฟัน เป็นปัญหาสุขภาพระดับรองๆ จึงมักมองข้ามปัญหาเหล่านี้ไป อย่างไรก็ตาม ปัญหาที่ดูเหมือนไม่สำคัญเหล่านี้กลับเป็นอาการที่พบได้ของโรคหัวใจ..เพชฌฆาตเบอร์หนึ่งของโลก!
การควบคุมน้ำหนักที่ถูกต้อง

การควบคุมน้ำหนักที่ถูกต้อง

การควบคุมน้ำหนักที่ถูกต้องควรทำอย่างไร กินยาหรืออาหารเสริมเพื่อควบคุมน้ำหนักได้ผลหรือไม่ อาหารประเภทใดที่ส่งผลต่อน้ำหนักมากที่สุด ฟังคำตอบได้จากคุณหมอเฉลิมพล กิจชระโยธิน แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว จากศูนย์การแพทย์ RSU Medical Center
ความดันโลหิต ตอนที่ 8: ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำ

ความดันโลหิต ตอนที่ 8: ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำ

ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำมีอะไรบ้าง มีอันตรายหรือไม่ และมีข้อควรระวังอย่างไร หากมีความดันโลหิตต่ำ สามารถออกกำลังกายได้หรือไม่ ติดตามได้จากซีรีส์ “คุยกับหมอหัวใจ” ตอนที่ 8 “ภาวะที่สัมพันธ์กับความดันโลหิตต่ำ” โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 7: วิธีดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ

หากผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยการขยายหลอดเลือดหรือให้ยาแล้ว จะมีวิธีการดูแลตัวเองอย่างไร จะออกกำลังกายได้หรือไม่ แล้วจะบริโภคอาหารได้เหมือนเดิมหรือไม่ อย่างไร ฟังคำตอบได้จาก ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 7: การรักษา

โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 7: การรักษา

เป้าหมายหลักของการรักษาโรคกระดูกพรุน ไม่ใช่การรักษาที่ตัวโรคเพียงอย่างเดียว แต่เป็น “การป้องกันกระดูกหัก” จากกระดูกพรุน! ถ้าเป็นอย่างนั้นแล้ว ผู้ป่วยควรปฏิบัติตัวอย่างไร ออกกำลังกายได้หรือไม่ และหากอยากตรวจวัดมวลกระดูก การตรวจเชื่อถือได้แค่ไหน
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 3: สัญญาณ / กระบวนการเกิดโรค

โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 3: สัญญาณ / กระบวนการเกิดโรค

เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคกระดูกพรุน จะมีสัญญาณใดบ่งบอกหรือไม่ กระบวนการก่อโรคกระดูกพรุนเป็นอย่างไร ฮอร์โมนเอสโตรเจนเกี่ยวข้องอย่างไรกับโรคกระดูกพรุน

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 4: การวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจ

ถ้าหากเราเข้าข่ายว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ จะมีวิธีการตรวจวินิจฉัยอย่างไรบ้าง ลักษณะการตรวจแต่ละวิธียุ่งยากหรือน่ากลัวไหม ลองมาฟังคุณหมออธิบายกันในรายการ “คุยกับหมอหัวใจ” เรื่อง “หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 4: การวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจ” โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

เช็กเฟซบุ๊กกันเป็นประจำใช่ไหม?

เฟซบุ๊กกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตเรา อย่างน้อยก็สำหรับคนที่ติดการเช็กบัญชีของตัวเองตลอดเวลา หากคุณเป็นหนึ่งในนั้น นี่อาจเกิดจากการพักผ่อนไม่เพียงพอ หรือกลับกันก็ได้ "เมื่อนอนน้อย คุณมักจะเสียสมาธิง่าย เวลาที่เสียสมาธิง่าย คุณจะทำอะไร ก็เล่นเฟซบุ๊กไง"
หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 1: หลอดเลือดหัวใจคืออะไร

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 1: หลอดเลือดหัวใจคืออะไร

ทำความรู้จักกับหลอดเลือดหัวใจ และหน้าที่ของหลอดเลือดหัวใจกัน และหากมีไขมันอุดตันในหลอดเลือด จะเกิดอันตรายอย่างไรบ้าง พบกับ ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ