หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 3: อาการแบบไหนที่ควรไปพบแพทย์

เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ อาการแบบไหนที่เป็นสัญญาณเตือน? แน่นหน้าอก ใจสั่น เป็นลมหมดสติ เข้าข่ายหรือไม่? เมื่อไรที่ควรไปพบแพทย์? ติดตามได้ในรายการ “คุยกับหมอหัวใจ” เรื่อง “หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 3: อาการแบบไหนที่ควรไปพบแพทย์” โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
ปวดหลัง ตอนที่ 3: ปวดหลังต้องทำอย่างไร

ปวดหลัง ตอนที่ 3: ปวดหลังต้องทำอย่างไร

หากปวดหลัง ต้องทำอย่างไร แค่สังเกตอาการและกินยาเพียงพอหรือไม่ ระหว่างยากินกับยาทาแก้ปวด ประเภทไหนให้ผลในการรักษาดีกว่ากัน ฟังคำตอบจากรศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สีปัสสาวะนั้นสำคัญไฉน!?

สีปัสสาวะนั้นสำคัญไฉน!?

รู้ไหมว่าสิ่งที่เห็นในโถชักโครกเป็นเหมือนลูกแก้ววิเศษที่บอกภาวะสุขภาพได้ สีปัสสาวะอาจเปลี่ยนไปได้ ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำในร่างกาย อาหารที่คุณรับประทาน หรือเป็นผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางตัว ต่อไปนี้คือสิ่งที่สีปัสสาวะบอกเกี่ยวกับสุขภาพของคุณและแบบไหนที่เริ่มเป็นสัญญาณอันตราย!

หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 6: การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน VS บายพาส

ภายหลังจากวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแล้ว นอกจากการกินยา จะมีวิธีการรักษาอย่างไรบ้าง การทำบอลลูน (Balloon Angioplasty) เป็นอย่างไร เจ็บตัวหรือไม่ ต่างจากการรักษาด้วยการผ่าตัดทำบายพาส (Heart Bypass Surgery) อย่างไร และหากผู้ป่วยมีหลอดเลือดหัวใจตีบหลายเส้น ควรรักษาด้วยวิธีอะไร ฟังคำตอบได้ในรายการ “คุยกับหมอหัวใจ” เรื่อง “หลอดเลือดหัวใจ ตอนที่ 6: การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจ: บอลลูน VS บายพาส” โดย ผศ.พญ. อิงอร อรุณากูร อายุรแพทย์โรคหัวใจ จากศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

คุยกะหมอจิตเวช ตอนที่ 15: เมื่อคนที่ฉันรัก…จากไป

เชื่อว่าเราทุกคนคงต้องเคยประสบกับความสูญเสียมาบ้างแล้ว...ไม่ว่าจะเป็นญาติพี่น้อง เพื่อน คนรัก หรือคนใกล้ชิด ควรจะทำอย่างไรเพื่อให้เรารับมือกับ “ความเศร้าโศก” นั้นได้ และจะดูแลผู้ที่เคยเป็นโรค “ซึมเศร้า” มาก่อนให้รับมือกับความสูญเสียได้อย่างไร พบกับรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปวดหลัง ตอนที่ 4: โรคกระดูกสันหลังเสื่อมทับเส้นประสาท

ปวดหลัง ตอนที่ 4: โรคกระดูกสันหลังเสื่อมทับเส้นประสาท

โรคกระดูกสันหลังเสื่อมทับเส้นประสาทคืออะไร มีอาการอย่างไร ใครเป็นผู้มีความเสี่ยง การรักษาต้องทำอย่างไร หากไม่ผ่าตัดจะรักษาหายได้หรือไม่
โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 6: น้ำหนักกับกระดูกพรุน

โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 6: น้ำหนักกับกระดูกพรุน

น้ำหนักของร่างกายคนเรามีผลต่อโรคกระดูกพรุนอย่างไร ใครเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงมากกว่ากัน ระหว่างคนผอมกับคนอ้วน หากสงสัยว่าเป็นโรคกระดูกพรุน ควรตรวจอย่างไร พบกับ รศ.นพ. ณัฐพล ธรรมโชติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คุยกะหมอจิตเวช ตอนที่ 16: ดูแลตัวเองอย่างไร…ให้ห่างไกลจากโรคทางจิตเวช

เชื่อว่าหลายคนคงรู้จักวิธีดูแลสุขภาพกายกันดีอยู่แล้ว... แต่คุณรู้จักวิธีดูแล “สุขภาพจิต” บ้างหรือไม่? จะดูแลตัวเองอย่างไรให้ห่างไกลจากโรคทางจิตเวช หรือหากคนใกล้ชิดของเราเป็นอยู่ เราควรดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างไรจึงจะเหมาะสม ฟังคำแนะนำได้จากรศ.พญ. รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การบำบัดโรคมะเร็งด้วยเม็ดเลือดขาวชนิด T-cell

การบำบัดโรคมะเร็งด้วยเม็ดเลือดขาวชนิด T-cell

นักวิจัยโรคมะเร็งอ้างว่า การบำบัดด้วยเม็ดเลือดขาวชนิด T-cell ให้ผล “ยอดเยี่ยม” ในหมู่ผู้ป่วยจำนวนนับสิบๆ รายที่อาจมีชีวิตอยู่ได้อีกไม่กี่เดือน การทดลองทางคลินิกขั้นต้นที่ใช้เม็ดเลือดขาวชนิดที-เซลล์ (T-cell) ในระบบภูมิคุ้มกันเพื่อจัดการมะเร็งถือว่าได้ผล “ยอดเยี่ยม”
คุยกับหมอศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 5: เมื่อลูกเป็นโรคปากแหว่ง เพดานโหว่

คุยกับหมอศัลยกรรมตกแต่ง ตอนที่ 5: เมื่อลูกเป็นโรคปากแหว่ง เพดานโหว่

ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่สามารถตรวจพบได้โดยการอัลตราซาวนด์ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ แต่ถ้าไม่ทราบมาก่อน จะทำอย่างไร!?