Home Tags สังคมไทย

Tag: สังคมไทย

รายได้กับรายจ่ายคนไทย ฟ้าไม่ปรานีใคร

หากกล่าวถึงผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศหรือ Gross Domestic Product, GDP อันหมายถึง รายจ่ายเพื่อบริโภค + รายจ่ายเพื่อการลงทุน + รายจ่ายของรัฐบาล + รายจ่ายของต่างประเทศที่ซื้อสินค้าผลิตในประเทศไทย ในกลุ่มประเทศอาเซียน คนไทยมีรายได้เฉลี่ยเป็นอันดับที่ 4 ในขณะที่ค่าแรงงานเป็นอันดับที่ 3 ของตลาดอาเซียน

เก็บสาระสำคัญ อนุสนธิอำนาจหลัง 14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519 ตอนที่ 10:...

การปกครองของไทยในยุคสังคมเกษตร ใช้หลักความเชื่อดั้งเดิมผสมกับความศรัทธาที่มีต่อศาสนา ส่งผลต่อการเกิดค่านิยมและจารีตประเพณีมาถึงปัจจุบัน...เมื่อก้าวเข้าสู่สังคมเกษตรกึ่งอุตสาหกรรม ความเชื่อในสิ่งต่างๆ ลดลง แต่กลับเป็นตัวขับเคลื่อนไปสู่ความคิดเห็นที่ขัดแย้งในครอบครัว และละทิ้งครอบครัวเดิมไปสู่ครอบครัวใหม่ที่แตกต่าง สิ่งเหล่านี้เป็นสาระสำคัญที่เป็นแก่นแกนของสังคม

เก็บสาระสำคัญ อนุสนธิอำนาจหลัง 14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519 ตอนที่ 9:...

หากติดตามมาโดยลำดับ คงจะทราบดีว่าระบบเศรษฐกิจและสังคมเราหละหลวมหลายด้าน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาทางการเมืองเป็นไปตามยุคสมัยของผู้มีอำนาจ กลุ่มทุนเก่าที่มีทุนดั้งเดิม ผนวกกับผู้มีอำนาจทางทหารในแต่ละช่วง เกิดการสนธิกันกับกลุ่มคนจีนที่เก่งการค้า กลายเป็นทุนที่มีอำนาจทางสังคมและบริบททางปกครอง เรามีรัฐธรรมนูญหลายฉบับ ความเป็นประชาธิปไตยจะมีมากหรือน้อยก็มักอ้างตามกรอบอำนาจในรัฐธรรมนูญจนความศักดิ์สิทธิ์ของความหมายในประชาธิปไตยลดลง และลืมนึกกับคิดไปว่าเป็นไปได้หรือที่รัฐธรรมนูญซึ่งเกิดจากอำนาจในแต่ละช่วงซึ่งคณะผู้มีอำนาจกำหนดขึ้นนั้นจะมีความเป็นประชาธิปไตย

เก็บสาระสำคัญ อนุสนธิอำนาจหลัง 14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519 ตอนที่ 7:...

รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2534 มีลักษณะครึ่งใบ สมาชิกวุฒิสภามาจากการแต่งตั้งทั้งหมด แม้อำนาจในรัฐสภาจะน้อยกว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง แต่มีอำนาจกลั่นกรองกฎหมาย รวมไปถึงอำนาจหน้าที่บางส่วนของฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐธรรมนูญฉบับนี้ยกร่างขึ้นภายหลังคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (รสช.) ยึดอำนาจ และมีการใช้กว่า 6 ปี

เก็บสาระสำคัญ อนุสนธิอำนาจหลัง 14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519 ตอนที่ 6:...

เมื่อรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุนดำเนินการร่างรัฐธรรมนูญเสร็จสิ้น ก็จัดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535...โดยพลเอกสุจินดา คราประยูร ได้ให้สัมภาษณ์ว่าตนและสมาชิก รสช. จะไม่รับตำแหน่งทางการเมืองใดๆ

เก็บสาระสำคัญ อนุสนธิอำนาจหลัง 14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519 ตอนที่ 5...

ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลชาติชายกับกองทัพในช่วงปลายของรัฐบาลสูงขึ้น อำนาจในกองทัพตกอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของจปร.รุ่น 5 พลเอกสุจินดา คราประยูร ผู้บัญชาการทหารบก และพลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล ผู้บัญชาการทหารอากาศ และจปร. รุ่น 1 พลเอกสุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ความหวาดระแวงมีมากขึ้นท่ามกลางข่าวลือกับยุทธการทางจิตวิทยา ในที่สุด กองทัพกระทำการยึดอำนาจ

เก็บสาระสำคัญ อนุสนธิอำนาจหลัง 14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519 ตอนที่ 5:...

แม้ยังเติร์กจะจบ พลเอกอาทิตย์จะอัสดง ก็มิใช่ว่าพลเอกเปรมจะบริหารงานได้ราบรื่นและมีเอกภาพ ความไม่ลงรอยกันในพรรคกิจสังคมและพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งขัดแย้งกันในการเลือกหัวหน้าพรรค นำมาสู่การไม่ลงมติเห็นชอบในการแก้ไขพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากพรรคประชาธิปัตย์บางส่วน แม้รัฐมนตรีของพรรคประชาธิปัตย์จะแสดงความรับผิดชอบด้วยการลาออกจากรัฐมนตรี เพื่อให้ปรับคณะรัฐมนตรี แต่พลเอกเปรมกลับยุบสภา

เก็บสาระสำคัญ อนุสนธิอำนาจหลัง 14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519 ตอนที่ 4:...

ด้วยศักยภาพที่เหนือกว่าของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และสามัคคี จปร. รุ่น 1-9 เว้นรุ่น 7 โดยเตรียม ทบ. 5 พลตรีอาทิตย์ กำลังเอกสามารถปราบปรามการปฏิวัติ ซึ่งดำเนินการโดยกลุ่มยังเติร์กได้

เก็บสาระสำคัญ อนุสนธิอำนาจหลัง 14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519 ตอนที่ 3...

ที่มาของคำว่า “ยังเติร์ก” มาจากชื่อของมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก นายทหารหนุ่มผู้ปลดปล่อยประเทศและก่อตั้งประเทศตุรกี ดำเนินการปฏิรูปประเทศตุรกีให้เป็นประเทศสมัยใหม่ที่เน้นประชาธิปไตยและไม่อิงศาสนา สำหรับยังเติร์กไทยนั้น เริ่มก่อตัวทางความคิดจากนายทหารหลายรุ่นที่ร่วมรบในสงครามเวียดนาม สงครามลับที่ลาวและเขมร

เก็บสาระสำคัญ อนุสนธิอำนาจหลัง 14 ตุลา 2516 – 6 ตุลา 2519 ตอนที่ 3

เมื่อเกิดเหตุการณ์สังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รัฐบาลพลเรือนที่นำโดยหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ตอนเย็นวันที่ 6 ตุลาคม 2519 คณะนายทหารภายใต้การนำของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ จึงอ้างความจำเป็นอย่างยิ่งในการยึดอำนาจ